top of page
bipam Sea_200701-07.jpg
Tan Cher Kian CK.jpg

Singapore

AIDLI MOSBIT graduated from Queensland University of Technology and has worked extensively with local companies like The Necessary Stage, Teater Kami, Wild Rice, Cake Theatre, Toy Factory, The Theatre Practice, Teater Ekamatra and Drama Box.

With Noor Effendy Ibrahim and Alfian Sa’at, Aidli published an anthology of Malay plays in the book, BISIK. She toured to Scotland, Australia, Malaysia, Indonesia, Romania, Hong Kong and Hungary, performing Singapore-brand theatre. Recipient of the Young Artist Award for Theatre in 2008, she played the leading role of Murni alongside Malaysia’s legendary actor, Datuk Haji Rahim Razali, in the film Sayang Disayang (2013) by Sanif Olek which was Singapore’s Official 2015 Oscar® Entry for Best Foreign Language Film.

In 2016, she published her collection of Malay plays entitled CHANTEK. CHANTEK was awarded the Hadiah Persuratan (Literary Award) 2017 by the Malay Language Council, Singapore.

Aidli is currently working in Temasek Polytechnic as the Senior Manager of the Arts Division, in the Student Development & Alumni Affairs department and has a Master of Education from the University of Adelaide.


Aidli Mosbit สำเร็จการศึกษาจาก Queensland University of Technology และทำงานอย่างกว้างขวางกับบริษัทท้องถิ่นอย่างเช่น The Necessary Stage, Teater Kami, Wild Rice, Cake Theatre, Toy Factory, The Theatre Practive, Teater Ekamatra และ Drama Box

Aidli ทำงานร่วมกับ Noor Effendy Ibrahim และ Alfian Sa’at ในการรวบรวมบทละครภาษามลายูและตีพิมพ์กวีนิพนธ์เล่มนั้นในชื่อว่า BISIK (Antologi drama Melayu Singapura) เธอจัดการแสดงละครเวทีของสิงค์โปรและทัวร์ทั้งที่สก็อตแลนด์ ออสเตรเลีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย โรมาเนีย ฮ่องกง และฮังการี เธอเป็นผู้รับรางวัล Young Artist Award for Theatre ในปี 2008 จากการรับบทนำเป็น Murni ที่เธอแสดงร่วมกับ Datuk Haji Rahim Razali นักแสดงระดับตำนานของประเทศมาเลเซียในภาพยนตร์เรื่อง Sayang Disayan (2013) โดย Sanif Olek ซึ่งต่อมาได้รับรางวัลออสการ์ในปี 2015 อย่างเป็นทางการของสิงคโปร์ในสาขา Best Foreign Language Film

ในปี 2016 เธอตีพิมพ์ชุดผลงานละครมาเลย์ชื่อ CHANTEK และได้รับรางวัง Hadiah Persuratan ในปี 2017 (รางวัลสาขาวรรณกรรม) โดย Malay Language Council ของประเทศสิงคโปร์

ปัจจุบัน Aidli ทำงานใน Temasek Polytechnic ในตำแหน่งผู้จัดการอาวุโสในการจัดการศิลปะ ในแผนกการพัฒนานักศึกษาและกิจการศิษย์เก่า และมีปริญญาโทด้านการศึกษาจาก University of Adelaide

Director / Performer / Educator

Aidli Mosbit (Alin)

1 Malaysia SEA flag.png
Tan Cher Kian CK project 1.jpg

Temasek Polytechnic National Day Virtual Concert 2020

Format: Online Concert
Length: 1.35 hrs.

Format: คอนเสิร์ตออนไลน์
Length: 1.35 ชั่วโมง

As the Senior Manager of the Arts Division in Temasek Polytechnic, one of my core duties will be to curate celebratory concerts, freshmen orientation performances and other campus-wide events that called for arts performances and productions. Due to the Covid-19 pandemic that restricted our ability to be in campus, this year’s celebrations of our Singapore’s 55th National Day and the 30th Anniversary of Temasek Polytechnic was held via an online livestream concert on Thursday, 6 August 2020 at 8pm, featuring songs, dances, live interviews and a five-part short film entitled 30 Years. Launched on Facebook Live, about 300 TP students, alumni and staff came together during this challenging season to present an exciting line-up of 10 recorded and live-streamed performance items spanning about 70mins. Under the theme of “Together, A Stronger Singapore”, the concert included an online fundraising effort for Campus Care Network Day. The first-ever full-length virtual online concert celebration garnered more than 435 “likes and loves” and 1000 comments. Feedback was given by 600 respondees and the event received an excellent rating of 4.65 (out of 5). The event was extremely well-received by an audience that included TP students, alumni, staff, and followers of TP’s Facebook and Instagram accounts.


ในฐานะผู้บริหารอาวุโสของของสาขาศิลปกรรมประจำสถาบันTemasek Polytechnic หนึ่งในหน้าที่หลักของฉันคือ การจัดงานคอนเสิร์ตเฉลิมฉลอง, การแสดงปฐมนิเทศต้อนรับเด็กปี1 และกิจกรรมอื่นๆในวิทยาเขตที่ต้องการการแสดงศิลปะและโปรดักชั่นศิลปะ เนื่องด้วยการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่จำกัดไม่ให้เข้าวิทยาเขต งานเฉลิมฉลองครบรอบวันชาติสิงคโปร์ปีที่ 55 และวันครบรอบ30ปีของสถาบันTemasek Polytechnicในปีนี้จึงถูกจัดเป็นการถ่ายทอดสดคอนเสิร์ตทางออนไลน์ในวันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2020 เวลา 20.00 น. ซึ่งประกอบด้วยการแสดงดนตรี, เต้น, สัมภาษณ์พูดคุย และการฉายภาพยนตร์สั้น5ตอนเรื่อง “30 Years” นอกจากนั้นภายในงานได้มีการถ่ายทอดสดบันทึกการแสดงสดที่น่าตื่นเต้นทั้งหมด 10 รายการ ความยาวรวมประมาณ 70 นาทีผ่านเฟซบุคไลฟ์ ซึ่งเป็นผลงานการทำงานร่วมกันระหว่างนักเรียนประมาณ 300 คน, ศิษย์เก่า และเจ้าหน้าที่ คอนเสิร์ตถูกจัดภายใต้ธีม “Together, A Stronger Singapore” เพื่อระดมทุนทางออนไลน์ในการจัดงานวัน Campus Care Network ต่อไปในอนาคต กิจกรรมนี้ถือเป็นคอนเสิร์ตเต็มออนไลน์รูปแบบแรกที่ได้รับความสนใจจากกดปุ่มถูกใจกว่า 435 ครั้ง และการแสดงความคิดเห็นกว่า 1,000 ความเห็น นับเป็นจำนวนผู้เข้าชมผ่านทางออนไลน์ 600 คน และกิจกรรมก็ได้รับผลการประเมินจากผู้ชมทางบ้านอย่างยอดเยี่ยม (4.6/5) นอกจากนั้นยังได้รับการตอบรับอย่างดีเยี่ยมจากนักเรียนสถาบัน Temasek Polytechnic, ศิษย์เก่า, เจ้าหน้าที่ และผู้ติดตามสถาบัน Temasek Polytechnicทั้งทางเฟซบุคและอินสตาแกรม

Tan Cher Kian CK project 1.jpg

SERUNDING

Format: Full-length performance with post-show discussion
Length: 49.50 Minutes
Language: English

รูปแบบ: การแสดงเต็มรูปแบบ พร้อมสนทนาหลังการแสดง
ความยาว: 49.50 นาที
ภาษา: อังกฤษ ไม่มีบรรยาย

Now that I’m working from home, all I do is stay alert for divisional and departmental meetings, keep VPN connected to check emails, rush out reports and proposals, but yet there are these home chores like cleaning, laundry and cooking that needs to be done... I find myself comparable to this character that I played before as I go through this “isolation period” of social distancing in this pandemic time.

She’s Safia from the award-winning monodrama, Serunding, written by Ahmad Musta’ain Khamis and originally directed by Lim Yu Beng.

I think Safia is the “original” character who truly understood “self-quarantine” and puts herself in isolation because of what happened to her. (Spoiler Alert) With her daughter going MIA on her and her taxi driver husband and army leftenant son away doing “essential duties”, our matriarch is left alone at home busy with chores, listening to the radio and fending off gossips on the phone with other isolated characters that we hear of in the entire play.

Yes, the feeling of being trapped in your own house is real for me as restrictions are on and for the character Safia, who is waiting for that important call from her estranged daughter, the isolation is both her punishment and salvation.

Yes, we are somewhat all Safias waiting for our “old normal” to return, though we know we must now face our “new normal” that is here to stay.


ช่วงนี้ฉันทำงานที่บ้าน สิ่งที่ฉันทำเป็นประจำคือ พยายามที่จะตื่นตัวสำหรับการประชุมของคณะและสาขาวิชาอยู่เสมอ เชื่อมต่อVPNไว้ตลอดเวลาเพื่อเช็คอีเมลล์ และรีบส่งรายงานและโครงการ แต่ในขณะเดียวกันฉันก็ยังทำงานบ้าน เช่น กวาดถูบ้าน, ซักผ้า และทำกับข้าว ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ ช่วงเวลาเหล่านี้มันทำให้ฉันค้นพบการเปรียบเทียบตัวเองกับตัวละครที่ฉันเคยเล่นก่อนที่จะเข้าสู่ช่วงเวลาอันโดดเดี่ยวในภาวะโรคระบาดนี้

ตัวละครนั้นชื่อว่า ‘ซาเฟีย’ จากละครแสดงเดี่ยวที่ได้รับรางวัลเรื่อง ‘Serunding’ เขียนบทโดย Ahmad Musta’ain Khamis และต้นฉบับถูกกำกับโดย Lim Yu Beng ฉันคิดว่าซาเฟียเป็นตัวละครที่เข้าใจการกักตัวอย่างถ่องแท้ เพราะเรื่องที่เกิดขึ้นกับเธอ จึงทำให้เธอรู้สึกโดดเดี่ยว (ต่อไปนี้จะเป็นการเปิดเผยเนื้อหาของละคร) ด้วยเหตุการหายไปของลูกสาวของเธอ สามีคนขับแท็กซี่ของเธอและลูกชายต่างออกจากบ้านไปทำ ‘หน้าที่ที่จำเป็น’ ทิ้งเธอไว้ที่บ้านคนเดียวกับงานบ้านอันยุ่งเหยิง, วิทยุและเรื่องเล่าซุบซิบนินทาทางโทรศัพท์จากเพื่อนของเธอ เราจะได้ยินเสียงเพื่อนของซาเฟียที่เป็นอีกตัวละครที่โดดเดี่ยวในการแสดง

ใช่แล้ว ความรู้สึกถูกขังอยู่ในบ้านของตัวเองมันตรงกับสิ่งที่ฉันรู้สึกเลย สำหรับฉันคือข้อบังคับจากรัฐบาล และสำหรับซาเฟีย มันคือการเฝ้ารอคอยลูกสาวที่ห่างเหินโทรศัพท์กลับมา ความรู้สึกโดดเดี่ยวมันเป็นทั้งการลงโทษและการไถ่บาปสำหรับซาเฟีย

และใช่ เราทุกคนต่างเป็นซาเฟียที่รอให้ ‘ความปกติเดิม’ (old normal) หวนคืนมา แม้ว่าเราจะรู้ว่าในที่สุดเราก็ต้องเผชิญหน้ากับ ‘ความปกติใหม่’ (new normal) เพราะอย่างไรเราก็ยังต้องใช้ชีวิตกันต่อไป

bottom of page