top of page
bipam Sea_200701-07.jpg
Tan Cher Kian CK.jpg

Philippines

Daloy Dance Company

Ea Torrado is the founder and artistic director of Manila-based dance theatre group, Daloy Dance Company. She is a contemporary Filipina artist whose creations manifest in site-specific work, film, installation, improvisational performance and dance theatre pieces. She has been awarded the Alvin Erasga Tolentino Koreograpiya Award (2014), the Remedios De Oteyza Award for Choreography (2016) and Asian Cultural
Council Grant (2017) for her works with Daloy DC. The company has also been nominated by Aliw Awards as Best Dance Company (2017), Best Classical Dance Company (2018), and Most Outstanding Contemporary Dance Group (2019) by Philippine LEAF Awards.

Her works Dots (2013), Nga-nga (2013), Dysmorphilia (2014) and Pieces of Me (2015), investigate notions of personal confinement and showed non-linear stories where the characters attempt to journey from disempowerment to liberation and/or despair. Filipinas (2014) and Sisa (2014) commissioned works by The Lopez Museum and Library for the exhibit, “Complicated”, Canton (2014) and Silenced (2016), has politically
charged themes that explored Filipino identity and feminism. Wailing Women (2017) is a continuation of her investigation of the inner space “loob”and its relationship with indignant narratives that are relevant to the healing of the Filipina. Her latter works---Encounters (2019) developed around the goddess sculptures of noted visual artist, Agnes Arellano, presented at UP Vargas Museum and UP-CAL Grounds; Howl (2018) in Neo-Filipino at The Cultural Center of the Philippines; Brown Madonna (2018) under 1SA Solo Arts Platform, Fringe Manila and The Japan Arts Foundation, Moonlight (2019) with P-Noise X Nordlys Arts Festival and Unearthing (2019) under The Manila International Performing Arts Market and Asian Gems in The Arts, both lyrically and viscerally with the politics of sexuality, collective rage, spirituality and the Sacred Feminine.
With Daloy DC, she has presented Walang Hiya Festival, Sayaw Galaw, Ugnayan Community Program and Tanghal at Talakay, all projects that tapped diverse Filipino communities by utilizing dance as a tool for personal and social change. Ea is also the founder of Daloy Movement, a guided and durational free-form healing dance practice originated and developed in the Philippines.


Ea Torrado เป็นทั้งผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ของ Daloy Dance Company ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองมะนิลา เธอเป็นศิลปินชาวฟิลิปปินส์ร่วมสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นงานเชิง site-specific (งานเฉพาะที่) งาน ภาพยนตร์ installation (ศิลปะจัดวาง) การแสดงแบบด้นสด หรือ dance theatre (ละครเต้น)

เธอได้รับรางวัล Alvin Erasga Tolentino Koreograpiya Award (2014), the Remedios De Oteyza Award for Choreography (2016) และ Asian Cultural Council Grant (2017) จากผลงานของเธอกับ Daloy DC บริษัทยังได้รับการเสนอชื่อจาก Aliw Awards as Best Dance Company (2017), Best Classical Dance Company (2018), และ Most Outstanding Contemporary Dance Group (2019) โดย Philippine LEAF Awards.

ผลงานของเธอ Dots (2013), Nga-nga (2013) Dysmorphilia (2014), Pieces of Me (2015) สืบเสาะมโนสำนึกแนวคิดเกี่ยวกับการกักขังตัวเองและแสดงให้เห็นถึงเรื่องราวแบบไม่เป็นเส้นตรงแบบที่ตัวละครพยายามที่จะเดินทางจากการถูกปฎิเสธอำนาจโดยผู้อื่นไปสู่การปลดปล่อยและ/หรือความสิ้นหวัง Filipinias (2014) และ Sisa (2014) งานร่วมกับ Lopez Meseum and Library สำหรับนิทรรศการ “Complicated”, Canton (2014), และ Silenced (2016) ทำหน้าที่เสนอประเด็นทางการเมืองที่สำรวจอัตลักษณ์ของความเป็นฟิลิปปินส์และลัทธิสตรีนิยม Wailing Women (2017) เป็นงานต่อเนื่องของการสืบเสาะของเธอเกี่ยวกับพื้นที่ภายใน “loob” และความสัมพันธ์ของมันกับการวาทกรรมเดือดดาลเกี่ยวกับการเยียวยาของหญิงสาวฟิลิปปินส์ ผลงานชิ้นหลังของเธอ Encounters (2019) พัฒนาขึ้นจากงานประติมากรรมรูปปั้นเทพีและเทพธิดาจากศิลปินชื่อดัง Agnes Arellano และได้จัดแสดงที่ UP Vargas Museum และ UP-CAL Grounds, Howl (2018) ในงาน Neo-Filipino ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งฟิลิปปินส์, Brown Madonna (2018) ภายใต้งาน 1SA Solo Arts Platform, Fringe Manilla และ Japan Arts Foundation, Moonlight (2019) ร่วมกับเทศกาล P-Noise X Nordlys Arts Festival และ Unearthing (2019) ภายใต้ Manila International Performing Arts Market และ Asian Gems in the Arts ทั้งด้านเนื้อเรื่องและเนื้อในของการเมืองเกี่ยวกับเพศ ความโกรธแค้น จิตวิญญาณ และความเป็นหญิงอันศักดิ์สิทธิ์

ในการร่วมมือกับ Daloy DC เธอได้แสดงงานในเทศกาล Walang Hiya Festival, Sayaw Galaw, Ugnayan Community Program และ Tanghal ที่ Talakay ซึ่งโครงการทั้งหมดเชื่อมโยงความหลากหลายของชุมชนฟิลิปปินส์ผ่านเครื่องมือซึ่งคือการเต้นในการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับบุคคลและสังคม Ea ยังเป็นผู้ก่อตั้ง Daloy Movement ซึ่งกิจกรรมการเต้นอย่างอิสระเพื่อเยียวยา ภายใต้ระยะเวลาการการนำของกระบวนกร กิจกรรมนี้มีต้นกำเนิดและพัฒนาในประเทศฟิลิปปินส์

Founder / Artistic Director

Ea Torrado

1 Malaysia SEA flag.png
Tan Cher Kian CK project 1.jpg

Unearthing
by Ea Torrado and Daloy Dance Company

Format : Performance trailer
Length : 3.49 mins

The process of Unearthing began four years ago, when the piece was commissioned as part of Sipat Lawin's Karnabal Festival for Social Performance Innovation and developed subsequently over the next two years in festivals and performance series around Manila and across Japan. The work is a choreographic exploration into the relationship between the carnal and the spiritual, the sacred and the sexual. Through intuitive movement investigations into first the sensuous, then the ecstatic, and finally, the mythic; Ea Torrado and Daloy's corps of dancers have assembled a fierce and primal homage to the filipino babaylan (the balance-bringing shaman-priestess) and to the ancient wisdom of the Sacred Feminine. The dance pushes pleasure forward unabashedly, pulling the dancers through a tantric spectrum of frenzied somatic release.

Unearthing transforms performance into community ritual, foregrounding the social being as a sacred being.


กระบวนการ ‘Unearthing’ เริ่มขึ้นเมื่อสี่ปีที่แล้ว เมื่อผลงานชิ้นน้ีได้เป็นส่วนหนึ่งจากการร่วมมือของ Karnabal Festival for Social Performance Innovation โดย Sipat Lawin และได้รับการพัฒนาต่อในช่วงสองปีต่อมาในเทศกาลมากมายและการแสดงทั่วมะนิลาและทั่วญี่ปุ่น ผลงานนี้เป็นผลงานการออกแบบท่าทางที่ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัณหาราคะและจิตวิญญาณ ความศักดิ์สิทธิ์และเพศ ผ่านการพินิจพิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกายด้วยสัญชาตญาณเมื่อถูกเร้าความรู้สึกในตอนแรก จากนั้นสู่ภาวะสุขสม และสุดท้ายภาวะในภวังค์จินตนาการ คณะนักเต้นของ Ea Torrado และ Daloy รวมตัวกันแสดงการศักการะที่รุนแรงและเป็นแบบดั้งเดิมต่อ babaylan ฟิลิปปินส์ (หมอผีหรือนักบวชผู้นำพาความสมดุล) และภูมิปัญญาเก่าแก่ของความเป็นหญิงที่ศักดิ์สิทธิ์ การเต้นรำผลักดันให้ความสุขสบายใจก้าวไปต่อข้างหน้าอย่างไม่ยี่หระ ดึงดูดนักเต้นผ่านคลื่นความถี่ที่น่าตื่นเต้นของการปลดปล่อยร่างกายที่บ้าคลั่ง

Unearthing ทำให้การแสดงกลางเป็นพิธีกรรมของชุมชน นำเสนอสังคมในฐานะสิ่งศักดิ์สิทธิ์

Tan Cher Kian CK project 1.jpg

Tethering

Format: Dance film
Length: 23.52 mins.

In La Union, Philippines, dance artist Ea Torrado finds herself tethering to a practice of ‘embodied listening’ to the ground, the winds and the sun. Ea roots herself to the sensory experience of how the natural environment is moving her, as she negotiates being the originator of the movement and being the channel through which movement happens in every prolific, present moment. As a reiki healer and practitioner of other intuitive healing modalities, and someone deeply interested in angels, spirit guides, extra-terrestrials, multi-dimensional beings, as well as the spiritual legacies and practices of the filipino shaman -priestess or babaylan, many questions influence her in this dance, one of them being— When are we all gonna come back home?


ใน La Union ประเทศฟิลิปปินส์ ศิลปินนักเต้น Ea Torrado ค้นพบว่าตัวเองกำลังเชื่อมโยงตัวเองกับวิถี “ฟังแบบเป็นรูปเป็นร่าง” กับพื้นดิน สายลม และดวงอาทิตย์ Ea หยั่งรากลึกถึงประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ทำให้เธอเคลื่อนไหว ในขณะที่เธอเจรจาต่อรองในการเป็นผู้ริเริ่มการเคลื่อนไหวและเป็นสื่อกลางในการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในทุกช่วงเวลาที่อุดมสมบูรณ์ ในปัจจุบันการณ์ ในฐานะผู้รักษา Reiki และผู้ปฏิบัติการบำบัดตามสัญชาตญาณอื่น ๆ รวมถึงเป็นผู้ที่สนใจกิริยาท่าทางและผู้ที่สนใจทวยเทพ ทูตสววรค์ วิญญาณ สิ่งลี้ลับ สิ่งมีชีวิตต่างมิติ รวมถึงมรดกทางจิตวิญญาณและประเพณีปฏิบัติของหมอผีฟิลิปปินส์ หรือที่เรียกว่า babaylan คำถามมากมายชักจูงเธอในการเต้น หนึ่งในคำถามเหล่านั้นคือ -- เมื่อไหร่พวกเราทั้งหมดจะได้กลับมาตุภูมิ?

bottom of page